วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันที่ 26 กรกฎาคม 2554
บรรยากาศ
-วันนี้ไม่ร้อน
-ห้องเรียนสอาดมาก
วิทยาศาสตร์มี 2 ส่วน
-คาวมรู้
-ทักษะ
ประโยชน์ที่คนรอบข้างได้รับ
-ได้กระบวนการ
-ได้ความรู้
-ได้ร่วมมือกัน
-ทำงานเป็นกลุ่ม
สรุปการจัดปะสบการณ์
1.หลักการเหตูผล
2.กิจกรรมอะไรบ้าง
3.ขั้นตอนดำเนินงาน
4.สื่อ
5.สถานที่ วันเวลา
6.ประโยชน์ที่ได้รับ
อาจารย์ให้นักศึกษาดูวีดีโอเรื่องลักษณะเด็ก
วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
เด็กดปฐมวัย
-วัยมีพัฒนาการทางสติปัญญาสูงที่สุดของชีวิต
-แสวงหาความรู้สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ทักษะกระบานการ
เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย สามารถคิดหาเหตุผลแสวงหาความรู้ สามารถแก้ไขปัญหาไปตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
1.ความหมายทักษะการสังเกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูกลิ้น และผิวกายเข้าไปสัมผัสโด้ยตรง กับวัตถุหรือเหตุการ โดยจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอ๊ยดของสิ่งนั้นๆ
-สังเกตรูปร่างลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป
-การสังเกตควบคู่กับการคิดเพื่อทราบปริมาณ
-การสังเกตเพื่อรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง
2.ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
-เกณฑ์ หมายถึงความสามารถในการแบ่งประเภท สิ่งของโดยหาเกณฑ์
-ความเหมือน
-ความสัมพันธ์ร้วม
3.ความหมายทักษะการวัด
การใช้เครื่องมือต่างๆวัดปริมาณของสิ่งที่เราต้องการการทราบได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยการวัดกำกับ
-รู้จักกับสิ่งของทีวัด
-การเลือกดครื่องมือที่นำมาใช้วัด
-วิธีการที่เราจะวัด
4.ทักษะการสื่อความหมาย
หมายถึง การพูดการเขียนรูปภาพและภาท่าทางการแสดงสีหน้าท่าทางความสามารถรับข้มูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
-บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
-บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
-บอกความสัมพันของขอมูลที่ได้จัดการกระทำ
-จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5.การลงความเห้นจากข้อมูล
-การเพิ่มเติมความคิด
-6 กิจกรรมหลัก
1.กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
2.กิจกรรมสร้างสรรค์
3.กิจกรรมเสรี
4.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
5.กิจกรรมกลางแจ้ง
6.กิจกรรมเกมการศึกษา
6.ความหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา หมายถึง การรู้จักเรียนรู้ 1มิติ 2มิติ 3มิติ การเขียนภาพ 2มิติแทนรูป3มิติการบอกทิศทางการบอกเวลาที่เกิดจากภาพ 3มิติการเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกระจกเงาหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย
-ภาพ 2มิติ และ 3มิติ
-บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ
-บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางกับวัตถุ
-บอกตำแหน่งซ้ายหรือขวาของภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้ากระเงา
7.ทักษะการคำนวน
ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ การบวก การลบ คูณ หาร การนำจำนวนของวัตถุ การนำจำนวนตัวเลขกำหนดของลักษณะต่างๆ เช่น ความกว้าง ความยาว ความสูงปรมาตร และน้ำหนัก
-กานนับจำนวนของวัตถุ
-การ บวก ลบ คูณ หาร
-การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษระต่างๆของวัตถุ

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

วันที่ 19 กรกฏาคม 2554
บรรยากาศ
-วันนี้อากาศดีน่าเรียนมากเลย
-ห้องเรียนสะอาด
อาจารย์อธิบายหลักการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เพื่อนๆทำ
-ลูกเกตเต้นระบำ
-ลูกโป่งแม่เหล็ก
-ไข่จมไข่ลอย
-น้ำนมมหัศจรรย์
-วัตถุใดซับน้ำได้เร็วกว่ากัน
-เทียนไขล่องหน
1.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โครงการ
-กิจกรรมของเด็ก
-สิ่งที่เด็กอยากรู้
-สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก
-สิ่งที่มีความสำคัญกับชีวิตประจำวัน
-ทำยังไงให้สอดคล้องกับเนื้อหา
-รูปของโครงการ
-เหตุผลลของการทำโครงการการลดละเลิกเหล้าและสิ่งเสพติด
-หลักการและเหตุผล(วันงดสูบบุหรี่)วันนายหลวงครบรอบ 84 พรรษา
วัตถุประสงค์(ความรู้ทักษะการสืบเสาะหาข้อมูล)
-เด็กได้รู้ถึงโทษภัยสิ่งเสพติด
-เด็กได้มีจิตสาธารณะ
-เด็กได้ทำงานร้วมกัน
เพลง
มา มา มา พวกเรามาลดเลิกเหล้า เบียร์ (ซ้ำ)
บุหรี่และสิ่งเสพย์ติด(ซ้ำ)
เพื่อตัวเราและเพือนายหลวง
เด็กได้ความรู้จากการทดลอง
รับผิดชอบเนื้อหาการจัดนิทรรศกาล
เกี่ยวกับการรณรงค์ยาเสพติด

วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่4

วัน อังคาร ที่ 12 เดือน กรกฎาคม 2554
บรรยากาศ
วันนี้บรรยากาศน่าเรียนโต๊ะเรียบร้อย
กิจกรรม
*นำเสนองานกลุ่ม*
กลุ่มที 1 เรื่อง จิตวิทยาการเรียนรู้
กลุ่มที่ 2 เรื่อง แนวคิดนักศึกษา
กลุ่มที่ 3 เรื่อง การจัดประสบการณ์
*เนื้อหา*
เรื่อง จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้ คือ เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธีดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
การเรียนรู้แบบนี้ คือ การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน การวางเงื่อนไขมี 2 อย่างคือ การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ผู้คิดคือ อีวาน พาฟลอฟ นักสรีระวิทยาชาวรัสเซีย เขาทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมน้ำลายและต่อมน้ำย่อยของสัตว์ เพื่อการศึกษาระบบย่อยอาหาร พาฟลอฟสังเกตว่าสัตว์จะเริ่มหลั่งน้ำลายเมื่อได้รับอาหาร ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติไม่จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ เขายังสังเกตด้วยอีกว่าสัตว์เริ่มหลั่งน้ำลายทันที เมื่อเห็นผู้ทดลองที่เคยเป็นผู้ให้อาหารเข้ามาในห้องนั้น หรือเมื่อมีใครยกจานอาหารของสุนัข มันจะน้ำลายไหลเช่นกันราวกับว่ามันกำลังจะได้กินอาหารนั่นคือสิ่งเร้าที่สัมพันธ์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่3

วันที่ 5 กรกฎาคม 2554
บรรยากาศในห้องเรียน
-วันนี้อากาศดีห้องเรียนสะอาดแอร์เย็นดีนักศึกษามาพร้อมกัน
อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปรายงานหน้าชั้นเรียน
-นักศึกษาไม่ได้เตรียมความพร้อมในการรายงานมา
-อาจารย์ให้นักศึกษาไปหาวิธีการรายงานที่จะทำให้เกิดความสนใจมา
-อาจารย์ให้นักศึกษาปรึกษากันเรื่องการนำเสนอการรายงาน

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่2

วันที่ 28 มิถุนายน 2554
บรรยากาศในห้องเรียน
วันนีอากาศดีห้องเรียนสะอาดน่าเรียนเพื่อนๆช่วยกันแสดงความดิดเห็นสม่ำเสมอ
อาจารย์ให้งานนักศึกษาไปทำ
-บทความ
-วิจัยทางวิทยาศาสตร์
-อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลง
-นักศึกษานำเพลงนี้ไปใช้ในการเรียนการสอนอย่างไร
-เนื้อหาของเพลงนี้ต้องการบอกอะไร
ตอบแสงจากดวงอาทิตย์ทำให้น้ำร้อน
วิทยาศาสตร์=การเกิดของไอน้ำ น้ำเปลี่ยนสถานะได้
จังหวะการสอนมีกี่จังหวะ ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป
อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มให้หา
1.ความหมาย
2.ความสำคัญ
3.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
4.จิตวิทยาการเรียนรู้
5.แนวคิดนักการศึกษา
6.หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ให้นักศึกษาไปห้องสมุด
หาวิทยาศาสตร์ให้เด็กปฎิบัติ ทดลองจริง
ชื่อหนังสือผู้แต่ง สำนักงานพิมพ์
สรุปบทความ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความชำนาญ ความคล่องแคล่ว ความแม่นยำ ของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อแสวงหาความรู้ หรือหาคำตอบในสิ่งที่สงสัยในขณะที่มีการค้นคว้าหาความรู้ ตามขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทำการศึกษาค้นคว้าต้องมีการปฏิบัติและฝึกฝนทางความคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ตามความคิดเห็นของนักการศึกษา พอสรุปได้ว่า ทักษะที่ควรส่งเสริมให้กับเด็กปฐมวัยมีดังนี้ 1.ทักษะการสังเกต 2.ทักษะการจำแนกประเภท 3.ทักษะการวัดและทักษะการเปรียบเทียบ 4.ทักษะการสื่อความหมาย 5.ทักษะการลงความเห็น 6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติและเวลา สิ่งที่ครูต้องตระหนักในการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การใช้คำถามที่จะนำไปสู่ทักษะนั้น ๆ เช่น ทักษะการสังเกต สังเกตสิ่งที่ครูถือว่ามีลักษณะ รูปร่าง อย่างไร ดินเหนียวและดินทรายมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร ทักษะการจำแนกประเภท ทำไมจึงจัดพวกเป็ด ไก่ อยู่ในพวกเดียวกัน ทักษะการวัดและเปรียบเทียบ นักเรียนกับครูใครสูงกว่ากัน ฯลฯ สิ่งสำคัญของการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ ให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง โดยผ่านประสาทสัมผัส ทั้ง 5